วันพฤหัสบดีที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2560

FRASA NAMA


Frasa Nama (นามวลี)

   นามวลี (FN) คือ วลีคำที่อธิบายถึงชื่อที่มีอย่างน้อยหนึ่งกลุ่มคำ กลุ่มคำกลุ่มแรกคือ คำนาม, คำนามบ่งบอก           ถึงชื่อ หรือคำสรรพนามแทนชื่อ

   หน้าที่ของนามวลี
        1. เป็นประธานในทุกรูปแบบประโยค
        2. เป็นภาคแสดงในรูปแบบประโยค FN+FN เท่านั้น  
         ตัวอย่าง
  
ประธาน(FN)
ภาคแสดง(FN)
Dia seorang      
 เขาเป็น
Pelajar university.
นิสิตมหาวิทยาลัยทักษิน
Emak Kamila
แม่ของกามีลา
Adalah seorang suri rumah.
เป็นแม่บ้านคนหนึ่ง
 3. เป็นกรรมที่อยู่หลังคำกริยาที่มีกรรมรองรับ (kata kerja transitif) ในส่วนประกอบของกริยาวลี (FK).

ตัวอย่าง 

ประธาน(FN)
ภาคแสดง(FK)

กริยาวลี (Kata kerja)
นามวลี (Frasa Nama)
Khadijah
คอดีเย๊าะ
membaca
อ่าน
akhbar.
หนังสือพิมพ์
Pelajar-pelajar
เหล่านักเรียน
menyanyikan
ร้อง
lagu sekolah.
เพลงโรงเรียน


4. เป็นองค์ประกอบของชื่อในภาคแสดงบุพบทวลี (FSN) หรือในวลีที่ให้ข้อมูลในภาคแสดง
 FK+Frasa Keterangan.

ตัวอย่าง

ประธาน(FN)
ภาคแสดง(FSN)

(Sendi Nama)
(Frasa Nama)
Hadiah ini
รางวัลชิ้นนี้
untuk
เพื่อ
Ibu saya.
แม่ของฉัน
Pelajar-pelajar
นักเรียน
ke
ไปยัง
Pulau Langkawi semalam.
เกาะลังกาวีเมื่อวาน

ประธาน(FN)
ภาคแสดง(FSN)

Frasa kerja
Frasa Keterangan


Sendi Nama
Frasa Sendi
Budak kecil itu
เด็กน้อยคนนั้น
bergaduh
รบกวน
dengan
กับ
abangnya
พี่ชายของเขา
Karimah
การีมะห์
membaca
อ่านหนังสือ
di
ที่
perpustakaan
หอสมุด

การสร้างนามวลี
การสร้างนามวลีจะประกอบด้วยแก่นหลักและคำขยายหรือองค์ประกอบหลักสองหลัก (inti-inti)
แก่นหลัก คือองค์ประกอบที่ให้เข้ากับความหมายและแสดงถึงวลีทั้งหมดในแง่ความหมาย ในขณะที่ส่วนขยายนั้นคือองค์ประกอบที่อธิบายความหมายของแก่นหลัก

ตัวอย่าง

Inti+penerang
Inti+inti
Pemandu
คนขับ
van
รถตู้
meja
โต๊ะ
kerusi
เก้าอี้
Guru
คุณครู
Bahasa Melayu
ภาษามลายู
hamba
ข้า
abdi
ที่ภักดี
Warna
สี
merah
แดง
ibu
แม่
bapa
พ่อ

Unsur Inti+Penerang (องค์ประกอบหลัก + ส่วนขยาย )
   แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ :
1. แก่นหลัก+ส่วนขยายที่เป็นชื่อ (inti+penerang nama)
2. แก่นหลัก+ส่วนขยายที่ไม่ใช่ชื่อ (inti+penerang bukan nama)


1.แก่นหลัก+ส่วนขยายที่เป็นชื่อ (inti+penerang nama)
การสร้างนามวลีชนิดนี้จะต้องมีคำนามที่เป็นองค์ประกอบหลักและคำนามที่เป็นส่วนขยายความ  คำนามที่เป็นองค์ประกอบในส่วนขยายสามารถแบ่งออกเป็น 13 ชนิด ดังตัวอย่างต่อไปนี้

Jenis Penerang Nama (ชนิดของส่วนขยายชื่อ)
Contoh (ตัวอย่าง)
Inti (KN)
Penerang (KN)
Keturunan
เชื้อชาติ
orang
คน
Thai
ไทย
Jenis
ชนิด
pisang
กล้วย
emas
ทอง
Penyambut
ผู้รองรับ
penulis
นักเขียน
buku
หนังสือ
Kegunaan
การใช้
serbuk
ผง
kari
กะหรี่
Kelamin
เพศ
polis
ตำรวจ
wanita
หญิง
Tempat
สถานที่
orang
คน
Pattani
ปัตตานี
Arah
ขอบเขต
bilik
ห้อง
belakang
ข้างหลัง
Anggota badan
อวัยวะร่างกาย
tuala

muka
หน้า
Tenaga penggerak
พลังงานกล
periuk
หม้อ
elektrik
ไฟฟ้า
Perihal atau perkara
เรื่องราวหรืออธิบายบางอย่าง
yuran
ค่าธรรมเนียม
kemasukan
ทางเข้า
Milik
เป็นเจ้าของ
guru
คุณครู
kami
ฉัน
Nama khas
ชื่อเฉพาะ
jalan
ถนน
Kanjanawanit
กาญจนาวนิช
Panggilan atau gelaran
ชื่อหรือชื่อเล่น
Datuk Paduka
ดาโตะ
Junaidi
จูนัยดี


1.      แก่นหลัก+ส่วนขยายที่ไม่ใช่ชื่อ (inti+penerang bukan nama)
การสร้างนามวลีชนิดนี้จะต้องมีส่วนขยายที่ไม่ได้มาจากชนิดของคำนาม คำที่ไม่ใช่ชื่อที่เป็นองค์ประกอบส่วนขยายที่สามารถแบ่งออกเป็น 5 ชนิด ดังตัวอย่างต่อไปนี้

ชนิดของส่วนขยาย (Jenis Penerang)
ตัวอย่าง (FN)
Penentu ผู้กำหนด
i.penentu hadapan การกำหนดส่วนหน้า

Penerang
Inti
Bil
tiga
Penjodoh bilangan
Orang guru
              ii.penentu belakang การกำหนดส่วนหลัง
Inti(KN)
Penerang
beg
itu
Kata kerja  คำกริยา
Kata adjektif  คำคุณศัพท์
Bilangan ordinal ลำดับ
Bola
Pendatang
tajuk
Tampar
Haram
keenam
Frasa sendi nama บุพบทวลี
Inti (KN)
Penerang (FSN)

Sendi
nama
bungkusan
dari
seberang

Unsur Inti + Inti
วลีกลุ่มนี้ไม่ต้องมีส่วยขยายความเพราะความหมายนั้นได้เชื่อมกับคำนามทั้งสอง แบ่งออกเป็น 2 ชนิดดังนี้
1.Inti+inti yang sama erti. (แก่นหลัก+ แก่นที่มีความหมายเหมือนกัน)
2.Inti+inti yang berlawan erti. (แก่นหลัก + แก่นที่มีความหมายตรงข้ามกัน)

ตัวอย่าง

Jenis hubungan
(ชนิดของคำเชื่อม)
Frasa Nama (นามวลี)
Inti(แก่นหลัก)
Inti(แก่นหลัก)
Sama erti (ความหมายเหมือนกัน)

Paku(ตะปู)
Wang (เหรียญเงิน)
Hutan (ป่า)
Pakis (ตะปู)
Ringgit (เหรียญเงิน)
Rimba (ป่า)
Berlawan erti (ความหมายต่างกัน)
Tikar (เสื่อ)
Suami (สามี)
Ibu (แม่)
Bantai (หมอน)
Isteri (ภรรยา)
Bapa (พ่อ)





                               สืบค้นข้อมูลมาจาก  : หนังสือเรียนวิชาไวยากรณ์ 2
                                ซึ่งเป็นตำราหนังสือของหลักสูตรภาษามลายู สาขาวิชาภาษาตะวันออก
                                คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์   มหาวิทยาลัยทักษิน ปี พ.ศ 2558
                                โดยอาจารย์มูหำหมัด สาแลบิง
                                       เมื่อวันที่  28/09/2560







     

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น