วันพุธที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2560

KATA TUGAS



KATA TUGAS (คำบอกหน้าที่) 


-กลุ่มคำทุกกลุ่มที่ไม่ใช้คำนาม , คำกริยา และคำวิเศษ
-กลุ่มคำที่ปรากฏในการสร้างวลีคำเพื่ออธิบายบางอย่างในประโยค

ชนิดของคำบอกหน้าที่
        จำแนกออกเป็น 3 ชนิดด้วยกัน

1.         Kata Penyambung ayat.
คำเชื่อมประโยค
2.         Kata Praklausa
คำเติมหน้าประโยค
3.         Kata Prafrasa
คำเติมหน้าวลี

1.      Kata penyambung ayat. (คำเชื่อมประโยค)
ได้แบ่งออกเป็น 2 ชนิด ดังนี้

1.1  Kata Hubung Gabungan.( คำเชื่อมที่รวมกัน )
กลุ่มคำที่เชื่อมต่อสองประโยคหรือมากกว่าที่มีความเหมือนกัน

 เช่น

atau (หรือ)
sambil (ในขณะที่)
serta (และ)

ตัวอย่าง:
Kami akan pulang ke kampung pada hari ini atau esok.
ฉันจะกลับไปยังหมู่บ้านภายในวันนี้หรือไม่ก็พรุ่งนี้
Kakak memandu kereta sambil mendengar radio.
พี่สาวขับรถในขณะที่ฟังวิทยุ

2.      Kata Hubung Pancangan. (คำเชื่อมที่แทรกประโยค)
ถูกแบ่งออกเป็น 3 ชนิด ดังนี้

2.1  Kata hubung pancangan relative (คำเชื่อมประโยคแทรกสัมพัทธ์)
สร้างมาจากกลุ่มคำ คำว่า “ yang ” คือ คำที่ทำหน้าที่เพื่อเชื่อมต่อประโยคแรกกับประโยครอง

ตัวอย่าง

Kakak memujuk adik yang sedang menangis itu.
พี่สาวเกลี้ยกล่อมน้องที่กำลังร้องไห้อยู่นั้น

2.2  Kata Hubung Pancangan Komplemen. (คำเชื่อมที่แทรกคำเติมเต็ม)
สร้างมาจากกลุ่มคำ คำว่า “ Bahawa”(ว่า) และ “ untuk”(เพื่อ)  เชื่อมต่อประโยคเสริมในหนึ่งประโยคแรก

ตัวอย่าง

    Kami percaya bahawa dia tidak bersalah.
ฉันเชื่อว่าเขาไม่ผิด
   Fairuz datang untuk menziarahi kawan baiknya.
ไฟรุสมาเพื่อเยี่ยมเพื่อนรักของเขา

             

2.3 Kata Hubung Pancangan Keterangan. (คำเชื่อมที่แทรกคำขยาย)
เชื่อมต่อประโยคแรกกับประโยคที่เป็นคำขยาย

เช่น

Semoga (หวังว่า)
Ketika (เมื่อ)
Sekiranya (ในกรณีที่)
Sungguhpun (แม้ว่า)
Tatkala (เมื่อ)


ตัวอย่าง

Saya berdoa semoga para pelajar saya berjaya.
ฉันขออวยพรให้ศิษย์ของฉันประสบความสำเร็จทุกคน
Dia dirawat di hospital kerana kemalangan jalan raya.
เขาได้รับการรักษาตัวที่โรงพยาบาลเพราะเกิดอุบัติเหตุบนท้องถนน

2.Kata Praklausa. (คำเติมหน้าประโยค)
กลุ่มคำที่มีอยู่ส่วนหน้าของประโยคและทำหน้าที่เพื่อทำให้เกิดคำอุทาน, คำถาม หรือคำอธิบายข้อมูลของประโยค
1.      Kata Seru. (คำอุทาน)
  -เกิดมาจากความรู้สึกที่หลากหลาย
  -มีการใช้สัญลักษณ์ของคำอุทานในส่วนท้ายของประโยค

ตัวอย่าง
Wah, cantiknya rumah itu! (Betul)
วะห์,บ้านหลังนั่นสวยจัง! (ถูกต้อง)
Wah! Cantiknya rumah itu. (Salah)
วะห์!บ้านหลังนั่นสวยจัง (ผิด)

2. Kata Perintah. (คำสั่ง)
-กลุ่มคำที่ถูกใช้เพื่อบ่งบอกถึงทิศทาง , ข้อห้าม , คำแนะนำ หรือ คำขอ

3. Kata Pangkal Ayat.(ฐานข้อมูลของประโยค)
-กลุ่มคำที่ถูกใช้เป็นเครื่องหมายความต่อเนื่องของประโยคในสนทนาและตำแหน่งของประโยคที่อยูส่วนหน้าของประโยค  คำเหล่านี้พบมากในบทความประเภทคลาสสิค

ตัวอย่าง

    Adapun Sebermula Syahadan.
และแล้วก็ผ่านไป..
Alkisah Maka Hatta.
กาลครั้งหนึ่ง...

3.      Kata Prafrausa. ( คำเติมหน้าวลี )
กลุ่มคำที่อยู่ในส่วนหน้าคำวลี เช่น frasa nama(วลีคำนาม) ,frasa kerja(วลีคำกริยา) และ frasa adjektif.(วลีคำคุณศัพท์) แบ่งออกเป็นชนิดต่างๆดังนี้

        3.1  Kata Bantu. (คำช่วยเสริม)
คำกริยาช่วยเกี่ยวกับการบอกเวลา
-          Suasana perbezaan masa. (บรรยากาศแตกต่างจากเวลา)

เช่น

Pernah(เคย)
sudah(แล้ว)
telah (แล้ว)
belum(ไม่)
sedang(กำลัง)
masih(กำลัง)

ตัวอย่าง

Dia masih belajar.
เขากำลังเรียนอยู่

3.2  Kata bantu ragam. ( คำกริยาช่วยบอกความรู้สึก)
-          แสดงหรืออธิบายความรู้สึกที่เชื่อมกับการกระทำที่ดำเนินการอยู่

เช่น

Harus (ควรจะ)
Mahu(ต้องการ)
Hendak (ต้องการ)
Mesti(ควร)
Boleh(สามารถ)
Dapat(สามารถ)

ตัวอย่าง

Rina hendak berhijrah ke Kuala Lumpur
รีน่าต้องย้ายไปอยู่กัวลาลัมเปอร์

3.3  Kata Penguat. (คำบอกความถี่)
-          กลุ่มคำที่ใช้สำหรับขยายความหมายที่มีอยู่ในคำคุณศัพท์
-          คำบอกความถี่ส่วนหน้า : ตำแหน่งของคำนี้จะอยู่ส่วนหน้าคำคุณศัพท์

เช่น

Paling (ที่สุด)
Terlalu (มากเกินไป)
Agak(ค่อนข้าง).

ตัวอย่าง

Maimunah adalah gadis paling comel di institute itu.
มัยมูเนาะเป็นเด็กหญิงที่สวยที่สุดในสถาบันแห่งนั่น

-          คำบอกความถี่ส่วนหลัง : ตำแหน่งของคำนี้จะอยู่ส่วนหลังคำคุณศัพท์

เช่น

Sekali (ครั้งเดียว)
benar (ความจริง)
nain (จริงๆ)

ตัวอย่าง

Indah nain.
สวยจริงๆ

-          คำบอกความถี่อิสระ (Kata peguat bebas) : มีทั้งที่อยู่ส่วนหน้าและหลังคำคุณศัพท์

เช่น

Sungguh (จริงๆ)
amat (มาก)
sangat (มาก)

ตัวอย่าง

Dia sangat gembira / Dia gembira sungguh.
เขาดีใจมาก / เขาดีใจมาก

3.4  Kata Penegas. (คำที่ทำหน้าที่เน้นย้ำประโยค)
-          สามารถเรียกได้ว่าเป็นคำอนุภาค คือ กลุ่มคำที่ใช้สำหรับให้คำอธิบายในส่วนที่เฉพาะเจาะจงของประโยค
-          เป็นคำที่อ้างถึงวลีคำกริยา คือ เมื่อใดที่วลีคำกริยาหรือส่วนที่ถูกอ้างถึงนั้นนำหน้า

ตัวอย่าง

Faiza memakai baju berwarna merah.
ไฟซาส่วมเสื้อสีแดง
Siapahkah yang memakai baju merah itu?
คนที่ส่วมเสื้อสีแดงนั้นใคร

3.5  Kata Nafi. (คำปฎิเสธ)
-          คำที่ใช้สำหรับยกเลิกหรือปฎิเสธใครบางคนหรือบางสิ่งบางอย่าง
-          ไม่และไม่ใช่

ตัวอย่าง

Baju ini bukan untuk Suzi tetapi untuk adik saya.
เสื้อตัวนี้ไม่ใช่สำหรับซูซิ แต่เสื้อนี้สำหรับน้องของฉัน
Sugai iti tidak dalam sangat.
ลำคลองลำนั้นไม่ลึกมากนัก


3.6  Kata Pemeri. (คำกริยาช่วย)
-          คำกริยาช่วยจะเชื่อมระหว่างประธานของประโยคกับวลีแรกในส่วนที่เป็นคำกริยาของประโยค

ตัวอย่าง

Dia ialah sasterawan Negara.
เขาคือนักเขียนระดับประเทศ
Buku itu adalah kepunyaan adik.
หนังสือเล่มนั้นเป็นของน้อง

3.7  Kata Arah. (คำบอกทิศทาง)
-          บ่งบอกถึงทิศทางหรือเส้นทางบางสิ่งบางอย่าง
-          จะใช้ก่อนวลีคำนามหรือที่พบบ่อยจะมาพร้อมกับคำแทนสรรพนาม

ตัวอย่าง

Bola itu di bawah meja.
ลูกบอลนั้นอยู่ใต้โต๊ะ
  
3.8  Kata Bilangan.(คำที่บอกถึงจำนวนนับ)
-          ค่าหรือจำนวนของบางสิ่งบางอย่าง เช่น คน หรือ สิ่งของ ถูกแบ่งออกเป็น 5 ชนิด :
จำนวนนับที่แน่นอน (Bilangan tentu) :
หนึ่ง สอง สาม สี่
จำนวนนับที่ไม่แน่นอน (Bilangan tak tentu) :
บางส่วน ทั้งหมด
จำนวนที่นับเป็นกองหรือรวม (Bilangan himpunan) :
เป็นถัง , เป็นวัน
จำนวนนับแบบแยก (Bilangan pisahan) :
แต่ละคน , ทุกๆ
จำนวนนับเป็นเศษส่วน (Bilangan pecahan) :
ครึ่ง

3.9  Kata Sendi Nama. (คำบุพบท)
-          โดยปกติแล้วคำบุพบทจะอยู่ส่วนหน้าของวลีคำนาม

เช่น

di (ที่)
ke (ยัง)
kepada (ไปยัง)
daripada (มาจาก)
dari(จาก)
untuk (เพื่อ)





 สืบค้นเมื่อวันที่ : 14/09/2560

         จากเว็บไซต์
http://bahasamelayu2.blogspot.com/2010/02/kata-tugas.html








ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น